ประวัติ

ชื่อ นายรณกฤต สิทธิศาสตร์

ตำแหน่ง ครู ค.ศ. 3


ขั้นตอนที่ 1.รวมกลุ่มครูที่มีปัญหา/ความต้องการเดียวกัน

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ขั้นตอนที่ 2. ค้นหาปัญหา  ความต้องการ

ปัญหาที่กลุ่มเลือก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด และนักเรียนขาดความสนใจในการเรียน

เหตุผลที่เลือก เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการต่อยอดการเรียนรู้ในอนาคต และเจตคติที่มีต่อรายวิชา

ขั้นตอนที่ 3. ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เลือกมาใช้แก้ปัญหา 

การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ รายวิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง การผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น ด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก  Active Learning โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 

ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ รายวิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง การผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น ด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก  Active Learning โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

ขั้นตอนที่ 5. แลกเปลี่ยนเสนอแนะ

ขั้นตอนที่ 6. นำสู่การปฏิบัติ/สังเกตการณ์สอน

IMG_8132.MOV

ขั้นตอนที่ 7. สะท้อนผล

ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน

ปัญหา/ปัญหา

นักเรียนบางส่วนไม่สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสื่อสารเท่าที่ควร

ข้อเสนอแนะ

ดำเนินการออกแบบกิจกรรมให้หลากหลาย เนื่องจากนักเรียนบางส่วนขาดความเข้าใจ และต้องการเวลาในการทำความเข้าใจเนื้อหามากกว่านักเรียนคนอื่น

ขั้นตอนที่ 8. รายงานการดำเนินงาน

plc-ครูถี.pdf